{"items":["5e215aefcc7be6001756040a","5f505ef7fa7d5500173e1fd2","5f48dcbac7cee90017383856","5f06ca2eb6d2f00017d7497a","5e84326ccf4d98001742aad3","5e5394f91b7ae70017474932","5e4ce83426850f0017b3f735","5e0dc9cc8d08280017bee737","5dea2e2cf4cb550017c8b4e9","5ddf8cefded3660017fbda64"],"styles":{"galleryType":"Strips","groupSize":1,"showArrows":true,"cubeImages":true,"cubeType":"fill","cubeRatio":"100%/100%","isVertical":false,"gallerySize":30,"collageDensity":0.8,"groupTypes":"1","oneRow":true,"imageMargin":0,"galleryMargin":0,"scatter":0,"rotatingScatter":"","chooseBestGroup":true,"smartCrop":false,"hasThumbnails":false,"enableScroll":true,"isGrid":false,"isSlider":false,"isColumns":false,"isSlideshow":true,"cropOnlyFill":false,"fixedColumns":1,"enableInfiniteScroll":true,"isRTL":false,"minItemSize":120,"rotatingGroupTypes":"","rotatingCropRatios":"","columnWidths":"","gallerySliderImageRatio":1.7777777777777777,"numberOfImagesPerRow":3,"numberOfImagesPerCol":1,"groupsPerStrip":0,"borderRadius":0,"boxShadow":0,"gridStyle":0,"mobilePanorama":false,"placeGroupsLtr":false,"viewMode":"preview","thumbnailSpacings":4,"galleryThumbnailsAlignment":"bottom","isMasonry":false,"isAutoSlideshow":false,"slideshowLoop":false,"autoSlideshowInterval":1,"bottomInfoHeight":0,"titlePlacement":"SHOW_ON_HOVER","galleryTextAlign":"center","scrollSnap":true,"itemClick":"nothing","fullscreen":true,"videoPlay":"hover","scrollAnimation":"NO_EFFECT","slideAnimation":"SCROLL","scrollDirection":1,"scrollDuration":400,"overlayAnimation":"FADE_IN","arrowsPosition":0,"arrowsSize":18,"watermarkOpacity":40,"watermarkSize":40,"useWatermark":true,"watermarkDock":{"top":"auto","left":"auto","right":0,"bottom":0,"transform":"translate3d(0,0,0)"},"loadMoreAmount":"all","defaultShowInfoExpand":1,"allowLinkExpand":true,"expandInfoPosition":0,"allowFullscreenExpand":true,"fullscreenLoop":false,"galleryAlignExpand":"left","addToCartBorderWidth":1,"addToCartButtonText":"","slideshowInfoSize":230,"playButtonForAutoSlideShow":false,"allowSlideshowCounter":false,"hoveringBehaviour":"NEVER_SHOW","thumbnailSize":120,"magicLayoutSeed":1,"imageHoverAnimation":"NO_EFFECT","imagePlacementAnimation":"NO_EFFECT","calculateTextBoxWidthMode":"PERCENT","textBoxHeight":0,"textBoxWidth":200,"textBoxWidthPercent":50,"textImageSpace":10,"textBoxBorderRadius":0,"textBoxBorderWidth":0,"loadMoreButtonText":"","loadMoreButtonBorderWidth":1,"loadMoreButtonBorderRadius":0,"imageInfoType":"ATTACHED_BACKGROUND","itemBorderWidth":0,"itemBorderRadius":0,"itemEnableShadow":false,"itemShadowBlur":20,"itemShadowDirection":135,"itemShadowSize":10,"imageLoadingMode":"BLUR","expandAnimation":"NO_EFFECT","imageQuality":90,"usmToggle":false,"usm_a":0,"usm_r":0,"usm_t":0,"videoSound":false,"videoSpeed":"1","videoLoop":true,"jsonStyleParams":"","gallerySizeType":"px","gallerySizePx":231,"allowTitle":true,"allowContextMenu":true,"textsHorizontalPadding":-30,"showVideoPlayButton":true,"galleryLayout":5,"targetItemSize":231,"selectedLayout":"5|bottom|1|fill|false|1|true","layoutsVersion":2,"selectedLayoutV2":5,"isSlideshowFont":true,"externalInfoHeight":0,"externalInfoWidth":0},"container":{"width":231,"height":360,"galleryWidth":231,"galleryHeight":129,"scrollBase":0}}
What we share today?
ปัญหามลพิษในกรุงเทพมหานครฯ
แบบไหนถึงจะเรียกว่ามลพิษ ที่อยู่ในระดับอันตราย
2.5 PM อันตรายอย่างไร?
สาเหตุการเกิดมลพิษในกรุงเทพฯ
Service ของเราช่วยลดมลพิษอย่างไร?

อย่างที่เรารู้กันว่า กรุงเทพมหานครได้เผชิญกับปัญหามลพิษในอากาศที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงเดือนที่ผ่านมา สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ได้เล่าถึงมลพิษที่เกิดจากฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน (2.5 PM) และในหลายๆพื้นที่มีการสะสมของมลพิษอยู่ในอากาศเกินกว่าค่ามาตรฐาน 50 มคก./ลบ.ม. (ไมโครกรัม/ลูกบาศ์กเมตร) และยังมีอีกหลายๆพื้นที่ที่มีค่าฝุ่นละอองเฉลี่ยเกิน 100 มคก./ลบ.ม. (ไมโครกรัม/ลูกบาศ์กเมตร)
จากดัชนีชี้วัด AQI (The Air Quality Index) ได้แบ่งระดับของการสะสมฝุ่นละอองในอากาศคร่าวๆดังนี้ ฝุ่นละอองที่สะสมอยู้ในอากาศจะต้องมีไม่เกิน 50 มคก./ลบ.ม. (ไมโครกรัม/ลูกบาศ์กเมตร) จึงจะถือว่าเป็นอากาศที่มีคุณภาพดี สำหรับค่าที่มากกว่า 50 มคก./ลบ.ม.แต่ไม่เกิน 100 มคก./ลบ.ม.ก็ยังถึงว่าคุณภาพปานกลาง ยกเว้นผู้ป่วยเกี่ยวกับทางเดินหายใจอาจจะต้องระมัดระวัง แต่ถ้าเกิน 100 มคก./ลบ.ม.ถือว่าเริ่มอันตราย เด็กและผู้สูงอายุ ไม่ควรอยู่ภายนอกอาคารนานๆ
สำหรับกรุงเทพมหานคร ฝุ่นละอองที่สะสมในอากาศ มีผลต่อสุขภาพ และจะส่งผลต่อผู้ป่วยเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ เวลาที่ออกกำลังกายภายนอกอาคาร และสำหรับบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผู้สูงอายุ ไม่ควรออกกำลังกายภายนอกอาคารเป็นเวลานาน
คำว่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (2.5 PM) หมายถึงมาตรการวัดขนาดของฝุ่นละอองในอากาศ ซึ่งกำหนดโดย US.EPA (สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection Agency -EPA) เป็นหน่วยงานระดับประเทศ หรือระดับรัฐบาลกลางของประเทศสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่ดูแลปกป้องสุขภาพของมวลมนุษย์และปกป้องสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ซึ่งได้แก่อากาศ น้ำและแผ่นดิน) ให้แบ่งประเภทฝุ่นละอองขนาดเล็กออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1.ฝุ่นหยาบ (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-10 ไมครอน)
2.ฝุ่นละเอียด (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 2.5 ไมครอน)
สำหรับขนาดของฝุ่นละอองที่ตรวจพบในเขคพื้นที่กรุงเทพมหานครคือ ฝุ่นละอองที่เรียกว่าฝุ่นละเอียด โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน เป็นขนาดที่เล็กเกินกว่าที่ขนจมูกของคนจะสามารถกรองได้ ทำให้ฝุ้นละอองขนาดเล็กสามาถแพร่กระจายเข้าสู่ทางเดินหายใจ กระแสเลือด รวมไปถึงแทรกซึมถึงระบบการทำงานต่างๆของอวัยวะภายใน ที่อาจทำให้มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเรื้อรัง
สาเหตุของฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร มักจะเกิดจากสาเหตุหลักๆ 2 สาเหตุคือ
1. ปัญหามลพิษที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อพลิงชนิดต่างๆของยานพาหนะ ที่ก่อให้เกิดคาร์บอนไดออกไซต์ ฝุ่นละอองต่างๆ ซึ่งมักจะเกิดในเขตชุมชนขนาดใหญ่ เช่นกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
2. ปัญหามลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเกิดจากกระบวนการผลิตต่างๆในโรงงานอุตสาหกรรม
สำหรับบริการของ Haupcar เป็นบริการที่ส่งเสริมรูปแบบการเดินทาง รูปแบบใหม่ในสังคมเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมืองที่มีประชากรอยู่หนาแน่น เป็นการให้บริการแบบที่เรียกว่า Car Sharing
อย่างประเทศสหรัฐอเมริกา ก็ได้มีธุรกิจรถเช่าแบบใหม่ ที่ให้เช่ารถระยะสั้น ได้ฉีกกฎการเช่ารถแบบเดิมๆ และกลุ่มลูกค้าก็เป็นกลุ่มลูกค้าทั่วไป บุคลากรในองค์กร และสถาบันการศึกษา ที่ต้องการใช้รถในเวลาไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้น ซึ่งซิปคาร์นั้นเริ่มต้นจากการเห็นว่าควรใช้ประโยชน์จากรถยนต์ที่มากเกินไปในชุมชนแออัด รวมถึงแนวคิดที่น่าสนใจว่า แบ่งปันกันใช้ 1 ครั้งจะสามารถช่วยลดปริมาณรถยนต์ลงได้ถึง 20 คัน
อย่างที่กล่าวไปว่า Car Sharing คือเป็นนวัตกรรมแบบใหม่สำหรับการเดินทาง โดยแนวคิดหลักๆคือคนสามารถนำรถออกมาแชร์กัน แบ่งกันใช้ เป็นเจ้าของร่วมกัน คนทุกคนไม่จำเป็นต้องซื้อรถ แต่ก็มีรถขับได้ ผู้ที่อยากใช้รถก็สามารถทำได้ง่ายๆเพียงดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น สมัครสมาชิก และไปยังสเตชั่นที่จอดรถ เพียงเท่านี้ก็สามารถใช้รถตามที่ต้องการแล้ว โดยหัวใจหลักของการให้บริการนี้คือ การทำให้ผู้ใช้บริการ รู้สึกเหมือนว่ากำลังใช้รถของตัวเอง ซึ่งการใช้คาร์แชร์ริ่งนั้นสามารถช่วยลดปริมาณรถยนต์บนท้องถนน และนอกจากนี้แล้วทางฮ้อปคาร์ได้ทยอยนำรถยนต์ไฟฟ้า (Electric Car Sharing) เข้ามาให้บริการแล้ว ซึ่งจะเป็นอีกทางหนึ่งที่จะเป็นการช่วยลดการเกิดมลพิษทางอากาศ
ดูรายละเอียดการเป็นสมาชิกเพิ่มเติมได้ที่ http://www.haupcar.com/manual