{"items":["5e215aefcc7be6001756040a","5f505ef7fa7d5500173e1fd2","5f48dcbac7cee90017383856","5f06ca2eb6d2f00017d7497a","5e84326ccf4d98001742aad3","5e5394f91b7ae70017474932","5e4ce83426850f0017b3f735","5e0dc9cc8d08280017bee737","5dea2e2cf4cb550017c8b4e9","5ddf8cefded3660017fbda64"],"styles":{"galleryType":"Strips","groupSize":1,"showArrows":true,"cubeImages":true,"cubeType":"fill","cubeRatio":"100%/100%","isVertical":false,"gallerySize":30,"collageDensity":0.8,"groupTypes":"1","oneRow":true,"imageMargin":0,"galleryMargin":0,"scatter":0,"rotatingScatter":"","chooseBestGroup":true,"smartCrop":false,"hasThumbnails":false,"enableScroll":true,"isGrid":false,"isSlider":false,"isColumns":false,"isSlideshow":true,"cropOnlyFill":false,"fixedColumns":1,"enableInfiniteScroll":true,"isRTL":false,"minItemSize":120,"rotatingGroupTypes":"","rotatingCropRatios":"","columnWidths":"","gallerySliderImageRatio":1.7777777777777777,"numberOfImagesPerRow":3,"numberOfImagesPerCol":1,"groupsPerStrip":0,"borderRadius":0,"boxShadow":0,"gridStyle":0,"mobilePanorama":false,"placeGroupsLtr":false,"viewMode":"preview","thumbnailSpacings":4,"galleryThumbnailsAlignment":"bottom","isMasonry":false,"isAutoSlideshow":false,"slideshowLoop":false,"autoSlideshowInterval":1,"bottomInfoHeight":0,"titlePlacement":"SHOW_ON_HOVER","galleryTextAlign":"center","scrollSnap":true,"itemClick":"nothing","fullscreen":true,"videoPlay":"hover","scrollAnimation":"NO_EFFECT","slideAnimation":"SCROLL","scrollDirection":1,"scrollDuration":400,"overlayAnimation":"FADE_IN","arrowsPosition":0,"arrowsSize":18,"watermarkOpacity":40,"watermarkSize":40,"useWatermark":true,"watermarkDock":{"top":"auto","left":"auto","right":0,"bottom":0,"transform":"translate3d(0,0,0)"},"loadMoreAmount":"all","defaultShowInfoExpand":1,"allowLinkExpand":true,"expandInfoPosition":0,"allowFullscreenExpand":true,"fullscreenLoop":false,"galleryAlignExpand":"left","addToCartBorderWidth":1,"addToCartButtonText":"","slideshowInfoSize":230,"playButtonForAutoSlideShow":false,"allowSlideshowCounter":false,"hoveringBehaviour":"NEVER_SHOW","thumbnailSize":120,"magicLayoutSeed":1,"imageHoverAnimation":"NO_EFFECT","imagePlacementAnimation":"NO_EFFECT","calculateTextBoxWidthMode":"PERCENT","textBoxHeight":0,"textBoxWidth":200,"textBoxWidthPercent":50,"textImageSpace":10,"textBoxBorderRadius":0,"textBoxBorderWidth":0,"loadMoreButtonText":"","loadMoreButtonBorderWidth":1,"loadMoreButtonBorderRadius":0,"imageInfoType":"ATTACHED_BACKGROUND","itemBorderWidth":0,"itemBorderRadius":0,"itemEnableShadow":false,"itemShadowBlur":20,"itemShadowDirection":135,"itemShadowSize":10,"imageLoadingMode":"BLUR","expandAnimation":"NO_EFFECT","imageQuality":90,"usmToggle":false,"usm_a":0,"usm_r":0,"usm_t":0,"videoSound":false,"videoSpeed":"1","videoLoop":true,"jsonStyleParams":"","gallerySizeType":"px","gallerySizePx":231,"allowTitle":true,"allowContextMenu":true,"textsHorizontalPadding":-30,"showVideoPlayButton":true,"galleryLayout":5,"targetItemSize":231,"selectedLayout":"5|bottom|1|fill|false|1|true","layoutsVersion":2,"selectedLayoutV2":5,"isSlideshowFont":true,"externalInfoHeight":0,"externalInfoWidth":0},"container":{"width":231,"height":360,"galleryWidth":231,"galleryHeight":129,"scrollBase":0}}

เรื่องที่เราเคยกังวลกันว่า “โมเดลคาร์แชร์ริ่งช่วยลดจำนวนการใช้รถลงนั้น ไม่มีหลักฐานรองรับ” ตามที่ Greg Archer เคยเขียนไว้ แต่ในปัจจุบันนี้ โลกยุคดิจิตอล และรูปแบบเศรษฐกิจแบบแชร์ริ่งได้สร้างโอกาสที่จะช่วยลดจำนวนยานพาหนะในเมืองให้ยิ่งน้อยลงไปอีก รถส่วนใหญ่ที่ทุกคนใช้กัน ในเวลาวันหนึ่ง 24 ชั่วโมงผู้คนใช้รถจริงๆเพียงแค่ 10% หรือประมาณ 2.5 ชั่วโมงเท่านั้น และในการครอบครองรถคันหนึ่งนั้น โดยเฉลี่ยแล้วจะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเข้ามาอีก 260,000 บาทต่อปี (6,500 ยูโร) ที่จะถูกใช้ไปเป็นค่าใช้จ่ายในการครอบครองรถคันหนึ่ง โดยรถแต่ละคันจะต้องการพื้นที่ 150 ตารางเมตรตเพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการจอด แต่ยังไม่หมดเพียงเท่านั้น การจราจรที่ติดขัดนั้นยังทำให้เศรษฐกิจของยุโรปต้องใช้เงินกว่า 4แสนล้านบาท (1หมื่นล้านยูโร) ต่อปีในการจัดการ ภาพของรถยนต์ส่วนตัวที่สื่อความสะดวกสบายแห่งศษตวรรษที่ 20 ดูเหมือนจะสลายหายไปด้วยความนิยมในไอเดียของการมีตัวรถเอง ในปัจจุบันโลคเทคโนโลยี และโมเดลแชร์ริ่งนั้นทำให้เกิดโอกาสที่จะลดจำนวนยานพาหนะในเมืองของเราลงได้อย่างมาก และช่วยลดไม่ว่าจะเป็นมลพิษ อุบัติเหตุ การจราจรที่ติดขัดที่เกิดจากการมีจำนวนรถในครอบครองและใช้มากเกินไปบทท้องถนน หนึ่งในการวิจัยจากสหรัฐอเมริกาได้ชี้ให้เห็นว่า จำนวนรถที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันอาจลดได้ถึง 1 ใน 3 ของทั้งหมดหากโมเดลคาร์แชร์ริ่ง ถูกนำไปใช้อย่างกว้างขวาง และผลวิจัยอีกชิ้นหนึ่งจากลิสบอน แสดงให้เห็นว่า รถที่วิ่งอยู่บนท้องถนนจะลดจำนวนเหลือเพียง 10% เท่านั้นถ้าหากมีการแชร์รถกันใช้ แต่การเปลี่ยนผ่านเข้าสู่คาร์แชร์ริ่งอย่างสมบูรณ์ไม่ใช่เรื่องง่าย ตราบใดที่รถยนต์ส่วนตัวและรถที่แชร์กันเริ่มแก่งแย่งพื้นที่ที่เหลือและการใช้งานทำให้เกิดประโยชน์อยู่พอตัว อย่างไรก็ตาม จุดมุ่งหมายท้ายสุดของเราคือการนำเอาพื้นที่คืนจากการยึดครองด้วยรถยนต์บนท้องถนนแล้วล่ะก็ จะทำให้คุณภาพชีวิตของคนเมืองดีขึ้นอย่างแน่นอน ข้อกังวลหรือข้อกังขาที่ว่าแชร์ริ่งโมเดลจะไม่ทำให้เกิดการลดลงของการใช้้รถยนต์ส่วนบุคคลนั้น มีหลากหลายเหตุผลมากมายมาหักล้างที่แสดงให้เห็นว่า แอพฯไรด์แชร์ริ่งช่วยให้มีการใช้รถบนท้องถนนน้อยลง และการขับขี่น้อยลงด้วย แต่ที่สำคัญคือ แอพฯดังกล่าวกำลังช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนให้ไปใช้รูปแบบการเดินทางโดยสารที่หลากหลายมากขึ้น ที่อาจใช้แทนที่รถโดยสารสาธารณะ หรือรูปแบบแอคทีฟ (เดิน ปั่นจักรยาน) รูปแบบของคาร์แชร์ริ่ง, ไม่ว่าจะเป็นแบบจากจุดหนึ่งไปจอดอีกจุดหนึ่ง หรือแบบราวด์ทริป หนึ่งคันจะช่วยให้ไปลดการใช้ใช้รถยนต์ส่วนตัวน้อยลงถึง 5-15 คัน การใช้บริการคาร์แชร์ริ่งในการเดินทางไกลนั้นสามารถใช้แทนการเดินทางด้วยระบบการขนส่งด้วยราง นอกจากนั้นตัวรถคันเดียวกันนั้นเองก็จะมีคนนั่งเยอะขึ้น ช่วยลดปริมาณคาร์บอนในอากาศที่ปล่อยออกมาต่อกิโลเมตเมื่อเทียบกับรถรางอีกด้วย อย่างไรก็ตามหลักฐานที่ให้ข้อสรุปได้กล่าวถึงมานั้นยังคงขาดความเสรีและแหล่งยืนยันข้อมลูเหล่านี้ไม่อาจสามารถมองเห็นได้หรือสัมผัสได้ ว่าได้ข้อมูลเหล่านี้มาได้อย่างไร และการศึกษาวิจับในเรื่องผลกระทบจากการใช้คาร์แชร์ริ่งยังคงขาดมาตราฐานที่จะใช้วัดผลของการ์แชร์รถกันใช้เพราะผลที่เห็นหรือเกิดขึ้นก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ละเมือง. การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคาร์แชร์ริ่งนั้นจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเพื่อที่จะวิเคราะห์ วิจัยข้อสิ่งที่บริษัทกล่าวอ้างเกี่ยวกับคาร์แชร์ริ่งได้อย่างเสรี หลักฐานที่พบยังแสดงให้เห็นอีกว่าช่วงระยะเวลาการย้ายไปใช้รถแชร์ ที่จะต้องมีการแก่งแย่งพื้นที่และประโยชน์กับรถยนต์ส่วนบุคคล เพื่อให้ขั้นตอนการเปลี่ยนมาใช้คาร์แชร์ริ่งง่ายและเร็วขึ้น จะต้องมีการจำกัดการครองถนนของรถที่มีอยู่ก่อนออกไปให้ได้ก่อน โดยมี 4 ขั้นตอนดังนี้ ก่อนอื่น จะต้องมีการเก็บหรือขึ้นราคาการใช้รถยนต์ส่วนตัวบนไฮเวย์ โดยคิดเงินในราคาที่ต่างกันโดยคิดราคารถที่แชร์กันใช้ให้เก็บราคาถูกกว่า และยกเว้นการคิดราคาดังกล่าวกับรถยนต์สาธารณะ
ต่อมา บรรดารถที่ทำให้เกิดผลพิษในอากาศสูง จะต้องถูกจำกัดการใช้หรือแบนจากเมือง และผู้ขับขี่รถยนต์เหล่าอาจมีเงินก้อนให้เพื่อแลกกับการสละหรือเลิกใช้รถนั้นเพื่อมาใช้รถสาธารณะหรือรถยนต์แชร์ ปัจจุบัน ในยุโรปมีรถที่เป็นเครื่องยนต์ดีเซล ประมาณ 35 ล้านคันที่ทำให้เกิดมลพิษในอากาศเกินกำหนดอยู่ จากเหตุดังกล่าวทำให้ประชากรกว่า 500 ล้านคนต้องเสียชีวิตลงก่อนวัยอันควร จากภาวะอากาศเป็นพิษ
จำเป็นจะต้องมีระเบียบการลดจำนวนที่จอดรถที่มีอยู่เกินความจำเป็นลงตามสถานที่ต่างๆในเมือง หากมีที่จอดรถมาก ก็จะมีผู้คนขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลมากขึ้น และเมืองที่มีการเพิ่มที่จอดมากขึ้นจะประสบกับส่วนแบ่งของการเดินทางด้วยรถยนต์ที่มากขึ้น เมื่อรถยนต์ที่จอดตามข้างทางลดลง พื้นที่เหล่านั้นก็จะถูกนำมาใช้เพื่อเป็นช่องทางสำหรับเลนรถโดยสารสาธารณะ หรือจักรยาน, ทางเดินเท้าที่กว้างขึ้น, จุดจอดเพื่อรับส่งที่มีการจัดระเบียบสำหรับคาร์แชร์ริ่งที่ใช้ร่วมกันหรือสำหรับคนอื่นๆที่เน้นไปในเรื่องของการพัฒนาตัวเมือง
ข้อสุดท้ายนั้น เราจะต้องมีการกำหนดออกกฎหมายเพื่อรองรับและให้สิทธิ์ แก่นวัตกรรมใหม่ๆ และทำให้แน่ใจว่า ภาระหน้าที่ในการตั้งกฎจะไม่ตกเป็นของบริษัทที่ให้บริการ และบริษัทที่ให้บริการที่มีขึ้นมาใหม่จะต้องขยายมาตราส่วนของบริษัทให้มีเพียงพอต่อความต้องการที่จะมาเพื่อทดแทนจำนวนการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลอย่างมหาศาลที่วิ่งอยู่ในเมือง ผู้ให้บริการรถสาธารณะได้มีเวลากว่าศตวรรษที่จะต่อกรกับรถยนต์ส่วนบุคคล แต่ก็ไม่ได้ประสบผลสำเร็จเท่าไรนัก คงถือได้ว่าเป้นการพลาดโอกาสที่สำคัญยิ่ง หากภาระการกำหนดกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมทำการเกิดใหม่ของผุ้ให้บริการการเดินทางบริษัทใหม่ๆ อยู่ในสถานะกึ่งเกิดอยู่อย่างนั้น และสถาณการณ์เดียวกันยิ่งผลักดันให้การครอบของถนนของรถยนต์่วนตัวเติบโตขึ้นในเมืองของเราเพิ่มขึ้นไปอีก
โดย Greg Archer, ผู้อำนวยกาย CVD (clean vehicle director) และ Barboda Bondovora นักวิจัยแห่ง Clean Transport NGO T&E